รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
1 สิงหาคม 2565
ข่าวเด่น
ผู้เขียน สุรเดช พันธุ์ลี
สถานการณ์โควิด-19 ยังไม่น่าวางใจ แม้จำนวนผู้ติดเชื้อจะลดลง แต่ทุกคนยังคงต้องระมัดระวังและปฏิบัติตามมาตรการต่างๆ เพื่อป้องกันตนเองและคนรอบข้างจากโรคนี้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยชวนนิสิตและบุคลากรจุฬาฯ จัดการกับโควิด-19 ด้วยวิธีง่ายๆ 3 ข้อดังนี้
ทานอาหาร
1. ทานจริงๆ ไม่คุยกัน
2. ทานเสร็จ คุยได้ แต่ใส่มาสก์
3. ทิ้งขยะ รวมทั้งอาหารในที่ที่จัดให้.
อยู่ในที่แคบๆ (โดยเฉพาะในลิฟต์)
1. ใส่มาสก์
3. อดใจ ไม่คุย
3. ไม่ทาน ไม่ดื่ม
ถ้า ATK เป็นบวก
1. ส่งภาพ ATK ถ่ายคู่กับบัตรประจำตัว และข้อมูลวันที่ตรวจพบ ให้หัวหน้าหน่วยงาน หรือฝ่ายกิจการนิสิตของคณะทราบ
2. กักตัว 7 วัน (WFH หรือ เรียน On-line) และเฝ้าระวังอีก 3 วัน (ทำงาน / เรียน On-site ได้) โดยนับวันที่ตรวจพบเป็นวันที่ 1
3. สังเกตอาการตาม
https://www.facebook.com/thaimoph/photos/a.117672836509295/365181105091799/?type=3
* ถ้าต้องการใบรับรองแพทย์ ติดต่อศูนย์บริการสุขภาพแห่งจุฬาฯ หรือโรงพยาบาลตามสิทธิ์การรักษา.
ใกล้ชิดผู้ป่วย เสี่ยงไหม?
1. จะเสี่ยงสูงเมื่ออยู่ในที่ปิดร่วมกับผู้ติดเชื้อโดยไม่ใส่มาสก์ทั้ง 2 ฝ่ายเกิน 10 นาที ยิ่งถ้าพูดคุยกันในระยะใกล้กว่า 1.5 เมตร เกิน 5 นาทีก็ยิ่งเสี่ยง
2. เมื่อรู้ว่าเสี่ยงสูง ให้แยกทานข้าวจากคนอื่น แยกห้องนอน และตรวจ ATK ในวันที่รู้ และวันที่ 5 หลังใกล้ชิด
3. ถ้าใส่มาสก์ตลอดเวลาทั้ง 2 ฝ่าย ถือว่า “เสี่ยงต่ำมาก”
.
ช่วงกักตัว
1. ให้กักตัวเคร่งครัด
2. ถ้าจำเป็นจริงๆ สามารถออกไปซื้อของหรือไปตรวจได้ แต่ต้องระวังการแพร่เชื้ออย่างเต็มที่
3. หลังกักตัว 7 วัน ยังต้องใส่มาสก์ และระวังการแพร่เชื้ออย่างเคร่งครัดเพิ่มอีก 3 วัน
เข้าชั้นเรียน
สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ แทนพระองค์พระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตจุฬาฯ ปีการศึกษา 2566 เป็นวันที่สอง
การประชุมวิชาการ “พระเสด็จโดยแดนชล” วัฒนธรรมเห่เรือในวรรณคดีและศิลปกรรมไทย และพิธีมอบรางวัลการประกวดบทร้อยกรองประเภทกาพย์เห่ เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 72 พรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
อาสาสมัครกาชาดจากจุฬาฯ ร่วมกิจกรรมช่วยเหลือผู้ประสบภัยที่สำนักงานบรรเทาทุกข์และประชานามัยพิทักษ์
ความประทับใจของบัณฑิตจุฬาฯ ในรั้วจามจุรี และพิธีพระราชทานปริญญาบัตรที่ภาคภูมิใจ
นิสิตคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ร่วมแสดงผลงานแฟชั่นและสิ่งทอในงาน centralwOrld Thailand Graduate Fashion Week 2024
วิศวฯ จุฬาฯ เชิญร่วมบริจาคโลหิตถวายเป็นพระราชกุศลเนื่องในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 72 พรรษา
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้