รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
15 มิถุนายน 2564
ข่าวเด่น, งานวิจัยและนวัตกรรม
รู้หรือไม่ว่าคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ก็มี Start up
ไบโอ อิงค์ บริษัท Start up คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ผันความรู้สเต็มเซลล์และวิศวกรรมชีวภาพ ตอบสนองความต้องการพัฒนาของตลาดนวัตกรรมเอกชน
ผศ.น.สพ.ดร.เจนภพ สว่างเมฆ หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจัย Veterinary Stem Cell and Bioengineering Innovation Center (VSCBIC) คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เปิดเผยว่า บริษัท ไบโอ อิงค์ จำกัด เปิดรับงานที่ใช้เทคโนโลยีสเต็มเซลล์ วิศวกรรมชีวภาพ รวมถึงองค์ความรู้ด้านเภสัชวิทยาและพิษวิทยา ในการพัฒนาสินค้า บริการ และรับงานด้านทดสอบจากภาคเอกชน ครอบคลุมการใช้งานใน 4 ขอบข่าย ได้แก่
1. การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการด้านเซลล์บำบัดและภูมิคุ้มกันบำบัด
2. การพัฒนาโมเลกุลยา สารออกฤทธิ์ และสารพฤกษเคมี แบบสั่งผลิตพิเศษ (custom-made) ในผลิตภัณฑ์สมุนไพร ยา เครื่องสำอาง อาหารและอาหารเสริม
3. การพัฒนาเครื่องมือแพทย์และวัสดุทดแทน
4. การทดสอบผลิตภัณฑ์ สารออกฤทธิ์
ผู้สนใจสามารถติดต่อบริษัท ไบโอ อิงค์ ได้ทางอีเมล์ bioink.cu@gmail.com หรือโทร. 08-0006-6298https://www.cuvscbic.com/
ศศินทร์ จับมือ Hewitt Consulting เปิดตัวโครงการ “100 Outperforming Enterprises”
“Molly Ally : ไอศกรีมจากพืช เพื่อสุขภาพและรสชาติที่ดีต่อใจ” จากทีมเครือข่ายพัฒนาผู้ประกอบการ CU Innovation Hub คว้ารองชนะเลิศอันดับ 1 สุดยอดนวัตกรรมในงาน TED Youth Startup Championship 2025
คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาฯ จัดโครงการอบรม “Accounting for Non-accountants” รุ่นที่ 22
7 มิถุนายน - 16 สิงหคม 2568 โรงแรมคราวน์ พลาซ่า
จุฬาฯ จับมือ 6 พันธมิตร AI ชั้นนำเปิดหลักสูตรผู้บริหารระดับสูง NEXUS AI ตามวิสัยทัศน์ AI University
คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาฯ จัดเสวนา “Business During Trump” วิเคราะห์นโยบายการค้าโลกยุค Trump และผลกระทบต่อธุรกิจไทย
คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ลงนามความร่วมมือกับบริษัท เบอริงเกอร์ อินเกลไฮม์ โครงการ The NEXT Level Veterinary Excellence
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้