รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
ข่าวสารจุฬาฯ
5 สิงหาคม 2565
ภาพข่าว
วิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาฯ ร่วมกับสถาบันเอเชียศึกษา จุฬาฯ และคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ โดยการสนับสนุนจากศูนย์กลางนวัตกรรมทางสังคมแห่งจุฬาฯ (CU Social Innovation Hub) ร่วมดำเนิน โครงการแผนที่เศรษฐกิจชุมชนแบบดิจิทัล ส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน และสร้างขีดความสามารถสำหรับผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม โดยมีการประชุมพร้อมทีมวิจัยจำนวน 28 คน เมื่อวันพุธที่ 3 สิงหาคม 2565 ณ โรงเรียนชุมชนหมู่บ้านพัฒนา แขวงพระโขนง เขตคลองเตย
โครงการ “แผนที่เศรษฐกิจชุมชนแบบดิจิทัล” มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างฐานข้อมูลและแผนที่เศรษฐกิจชุมชน สร้างโอกาสทางอาชีพ และกระตุ้นเศรษฐกิจฐานรากและเศรษฐกิจภายในพื้นที่ชุมชน พร้อมทั้งพัฒนาและสร้างระบบแพลตฟอร์ม ส่งเสริมการสร้างงานและการสร้างความเข้มแข็งของห่วงโซ่อุปทานและ อุปสงค์ในชุมชน และยังเป็นโอกาสในการพัฒนาทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อส่งเสริมการสร้างอาชีพและรายได้ เพื่อให้เกิดการพัฒนาด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมในชุมชนโลกอย่างยั่งยืน
โครงการฯ ได้ดำเนินการพัฒนานวัตกรรมจากคำแนะนำของผู้มีส่วนได้เสียในโครงการมาอย่างต่อเนื่อง มีการพัฒนาจนสามารถใช้นวัตกรรมเบื้องต้นเสร็จสิ้น และพร้อมประชาสัมพันธ์นวัตกรรมและเริ่มทดลองใช้ในโรงเรียนในสังกัด กทม. เขตคลองเตย รวมถึงหารือแนวทางความร่วมมือระหว่างหน่วยงานและผู้มีส่วนได้เสียต่างๆ อาทิ หน่วยราชการในพื้นที่ ผู้แทน/ประธานชุมชนในพื้นที่ อาสาสมัครแรงงานในพื้นที่ ผู้ประกอบการรายย่อย/เล็ก ผู้ที่ทำงานนอกระบบ เพื่อให้เกิดความยั่งยืนต่อไป
จุฬาฯ จัดประชุมวิชาการนานาชาติ “เสว่ยหลง 2 และอนาคต” เสริมความร่วมมือไทย–จีน ด้านการวิจัยขั้วโลกและการรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
จุฬาฯ ต้อนรับผู้บริหาร Durham University สหราชอาณาจักร หารือความร่วมมือทางวิชาการ
แถลงข่าวเปิดตัวโครงการอบรมเฉพาะทางระยะสั้น “World Class Destination Development”
จุฬาฯ ร่วมกับสำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ จัดโครงการพัฒนาหลักสูตรด้านการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพ
สังคมไทย ‘ตายมากกว่าเกิด’: สิ่งนี้เป็นโอกาสหรือวิกฤตต่อความยั่งยืน
ศูนย์เครือข่ายการเรียนรู้เพื่อภูมิภาค จุฬาฯ มุ่งขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ Impactful Growth ในพื้นที่ จ.สระบุรี
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้ ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้
ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้