รู้จักจุฬาฯ
การบริหาร
อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย
Green University
Sustainability
ติดต่อจุฬาฯ
บริจาคให้จุฬาฯ
หลักสูตร
การสมัครเข้าศึกษา
หน่วยงานการศึกษา
บริการนิสิต
บริการวิชาการ
บริการทางการแพทย์
บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ
สารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นที่สร้างสรรค์
ข่าวสารและความเคลื่อนไหว
วารสารจุฬาฯ
สาระความรู้
อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ จับมือภาคอุตสาหกรรม วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์เส้นพาสตาปราศจากกลูเตน สูตรโปรตีนสูง เหมาะสำหรับคนรักสุขภาพและแพ้โปรตีนกลูเตน
คณะนิติศาสตร์ จุฬาฯ เปิดโครงการ “ห้องปฏิบัติการกฎหมายสิทธิมนุษยชน” ผสานความรู้จากห้องเรียนกับสนามประสบการณ์ ให้นิสิตได้เรียนรู้จากการทำงานจริงกับภาคีนักกฎหมาย ร่วมปกป้องและส่งเสริมความเข้าใจเรื่องสิทธิมนุษยชนในสังคมไทย
จาก “คำ” กลายเป็น “ภาพ” ปัญญาประดิษฐ์เปิดโอกาสให้ทุกคนสร้างสรรค์ผลงานศิลปะได้ด้วยตัวเอง ง่าย สะดวก รวดเร็ว แต่ AI รูปแบบนี้จะเข้ามาลดทอนและแทนที่ ฝีมือ จินตนาการ และอาชีพของมนุษย์หรือไม่ เราควรมีท่าทีต่อเรื่องนี้อย่างไร อาจารย์วิศวฯ และอาจารย์สถาปัตย์ฯ จุฬาฯ ร่วมแสดงทัศนะ
ศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ศึกษานวัตกรรมตรวจเลือดหาสารบ่งชี้อาการสมองเสื่อมแฝง รู้ล่วงหน้า 10 ปี เตรียมตัวเพื่อชะลออาการอัลไซเมอร์เมื่อสูงวัย
Service Design Innovation คอร์สเรียนออนไลน์จาก Chula MOOC เปิดมุมคิดการออกแบบบริการ นวัตกรรมสินค้าธรรมดาให้เป็นบริการสุดล้ำ เพิ่มมูลค่าธุรกิจและเศรษฐกิจไทย
เปิดให้บริการแล้ว! ทางเลือกใหม่ผู้บริโภค แพลตฟอร์มดิลิเวอรี่ ‘ตามสั่ง-ตามส่ง’ โมเดลธุรกิจตามแนวคิดเศรษฐกิจสมานฉันท์โดยนักวิจัย จุฬาฯ หนุนชุมชนเป็นเจ้าของและประสานประโยชน์ร่วม สร้างงาน สร้างรายได้ ลดค่าใช้จ่ายผู้บริโภค พร้อมขยายโมเดลในหลายชุมชนทั่วประเทศ
APEC (Asia-Pacific Economic Cooperation) เป็นเวทีการประชุมความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก ที่มีความสำคัญระดับโลก มีเป้าหมายหลักเพื่อส่งเสริมการเปิดเสรีการค้าการลงทุน ความร่วมมือในด้านมิติสังคมและการพัฒนาด้านอื่น ๆ ซึ่งในปี ค.ศ. 2022 นี้ ประเทศไทยได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมเอเปคตลอดทั้งปี รวมถึงการประชุมสุดยอดผู้นำเอเปคที่กำลังจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 18-19 พฤศจิกายนนี้
อาจารย์วิศวฯ จุฬาฯ ออกแบบ “Gowajee” นวัตกรรม AI ถอดความภาษาไทย แปลงเสียงเป็นข้อความและข้อความเป็นเสียง แม่นยำเป็นธรรมชาติราวเจ้าของภาษา เก็บข้อมูลปลอดภัย เริ่มใช้งานแล้วกับระบบคอลเซ็นเตอร์และการคัดกรองผู้ป่วยซึมเศร้า จ่อประยุกต์ใช้กับงานอีกหลายรูปแบบ
ดาวน์โหลดฟรี! Gami+ แอปพลิเคชันเสริมสำหรับ Google Classroom อาจารย์ครุศาสตร์ จุฬาฯ ออกแบบเพื่อช่วยผู้สอนสร้างบรรยากาศการเรียนออนไลน์ให้สนุกเหมือนเล่นเกม เปิดห้องเรียนแล้วกว่า 6,000 ห้อง และมีผู้เรียนเข้าใช้งานจริงกว่า 120,000 คน
นักวิจัยสถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม จุฬาฯ แปลงร่างน้ำมันพืชใช้แล้วเป็นสบู่เหลวโพแทสเซียม ทำความสะอาดดี ละลายน้ำ 100 % ย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ ปลอดภัยต่อระบบบำบัดน้ำเสีย พร้อมเป็นทางเลือกเพิ่มมูลค่าและศักยภาพชุมชนในการจัดการน้ำมันพืชใช้แล้วด้วยตนเอง เร่งต่อยอดเป็นสารควบคุมแมลงในแปลงเกษตรอินทรีย์
ศูนย์วิจัยโรคสัตว์น้ำ จุฬาฯ สร้างนวัตปะการัง (Innovareef) ซีเมนต์คุณสมบัติเทียบปะการังตามธรรมชาติ ตัวอ่อนปะการังเกาะติดง่ายโตเร็ว ช่วยร่นเวลาการฟื้นฟูระบบนิเวศแนวปะการัง เสริมแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ อีกทั้งทำหน้าที่ smart station ตรวจวัดสภาพแวดล้อมในทะเล
ทำความรู้จัก NFT เทรนด์การซื้อขายและถือครองสินทรัพย์ดิจิทัลรูปแบบใหม่ คุ้มที่จะเสี่ยงแค่ไหน อาจารย์บัญชีฯ จุฬาฯ แนะหลักคิดการลงทุน NFT พร้อมข้อควรระวัง
สัตวแพทย์ จุฬาฯ วิจัยหนุนเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมพัฒนาและผลิตน้ำนมคุณภาพสูง “สระบุรี พรีเมียมมิลค์” ผันตัวเป็นผู้ประกอบการ สร้างแบรนด์ธุรกิจฟาร์มเพื่อยืนหยัดแข่งขันในภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจ
นิเทศศาสตร์ จุฬาฯ ปรับตัวก้าวทันโลกการสื่อสารสมัยใหม่ เปิด 2 รายวิชาผลิตสื่อสร้างสรรค์ในรูปแบบเกม บูรณาการข้ามศาสตร์ วิศวฯ และสาธารณสุข สร้างสื่อเข้าถึงและดึงดูดใจผู้รับสารยุคดิจิทัล
อาจารย์ครุศาสตร์ จุฬาฯ พัฒนา NurseSims Kit นวัตกรรมชุดการเรียนรู้รูปแบบการจำลองสถานการณ์ เตรียมทักษะการทำหัตถการของนักศึกษาพยาบาล ส่งเสริมสมรรถนะทางวิชาชีพและความฉลาดทางดิจิทัลก่อนลงสนามจริง
นักวิจัยคณะวิทย์ฯ จุฬาฯ ผุดผลิตภัณฑ์ทรายแมวจากมันสำปะหลัง สินค้าไทย 100 % เล็งส่งออกแข่งขันในตลาดโลก อวดประสิทธิภาพดูดซับของเหลวและกลิ่นปัสสาวะแมวได้ดี ย่อยสลายได้ในธรรมชาติ ปลอดภัยกับแมวและผู้เลี้ยง เตรียมต่อยอดทรายแมวบ่งชี้โรค
คณาจารย์จากสถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ จุฬาฯ นำเสนอบทความโดยนำข้อคิดจากงานวิจัยชั้นนำที่เกี่ยวข้องกับบทบาทของทองคำในการเป็น “สรวงสวรรค์แห่งความปลอดภัย” หรือ “Safe Haven Asset”
แพทย์จุฬาฯ เผยการวิจัยพบ “ไซโตไคน์” ในระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายที่บ่งชี้ความรุนแรงของโรคข้อเสื่อมในผู้สูงวัย หวังช่วยวางแผนการติดตาม รักษาและลดความรุนแรงของโรค พร้อมแนะเสริมวิตามินดีและวิตามินอี การควบคุมน้ำหนักตัว และออกกำลังกายให้เหมาะสม
จุฬาฯ จัดยิ่งใหญ่ ครั้งแรกในประเทศไทย งานเทศกาลด้านการพัฒนาความยั่งยืน Chula Sustainability Fest 2022 ณ อุทยาน 100 ปี จุฬาฯ ระหว่างวันที่ 2 – 4 กันยายน 2565
นักวิจัยคณะครุศาสตร์ จุฬาฯ แนะวิธีบ่มเพาะนิสัยและคุณลักษณะ “บุคคลเรียนรู้ตลอดชีวิต” ให้เด็กตั้งแต่วัยประถม เพื่อปรับตัวและใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุขในโลกที่เปลี่ยนแปลงพลิกผันตลอดเวลา
มุ่งสู่ “ผู้นำนวัตกรรมสร้างสรรค์สังคมสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน”
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทำงานวิจัย นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมากต่อทั้งอาจารย์ นิสิต รวมถึงภาคประชาสังคม
รองศาสตราจารย์ ดร.สุชนา ชวนิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ประเภทของคุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้ท่านสามารถใช้เว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ ท่านไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน โดยมีจุดประสงค์คือนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้มีคุณภาพ และสร้างประสบการณ์ที่ดีกับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราอาจไม่สามารถวัดผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ให้ดีขึ้นได้ รายละเอียดคุกกี้